ภูมิปัญญา ไทย ใน ท้องถิ่น

การฟื้นฟู โดยเลือกสรรภูมิปัญญาที่กำลังสูญหายหรือที่สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในท้องถิ่น โดยเฉพาะพื้นฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม 4. การพัฒนา ควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวันโดยใช้ภูมิปัญญาในการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ ควรนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อต่อยอดใช้ในการผลิต การตลาดและการบริหาร ตลอดจนการป้องกันและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5. การถ่ายทอด โดยนำภูมิปัญญาที่ผ่านมาเลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผลอย่างรอบคอบและรอบด้าน แล้วถ่ายทอดให้คนในสังคมได้รับรู้ เกิดความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่า คุณประโยชน์และปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม โดยผ่านสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมต่างๆ 6. ส่งเสริมกิจกรรม โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาของชุมชนต่างๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง 7. การเผยแพร่แลกเปลี่ยน โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง โดยมีการเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ ด้วยสื่อและวิธีต่างๆ 8.

ภูมิปัญญาท้องถิ่น | ภูมิปัญญาท้องถิ่น

หวย ทดลอง ออก 16 4 62

ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคกลาง

2. 1 การทำเหมืองฝาย เป็นการจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรการอุปโภคและบริโภคของคนไทยในภาคเหนือที่มีมาแต่โบราณ ระบบนี้ใช้การแบ่งปันน้ำระหว่างสมาชิกของสังคม โดยมีการตั้งคณะกรรมการจัดสรรน้ำขึ้นมาดำเนินการและมีบุคคลที่ชาวบ้านยอมรับเป็นหัวหน้า ระบบเหมืองฝายถือเป็นภูมิปัญญาไทยที่ใช้ความยุติธรรมเป็นหลัก กล่าวคือ การจัดสรรน้ำจะใช้สัดส่วนของไร่นาที่ทำการเกษตรเป็นเกณฑ์ ด้วยวิธีการนี้จะทำให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามต้นน้ำและปลายน้ำได้รับประโยชน์จากการจัดสรรน้ำอย่างเท่าเทียมกัน ดังนั้นชาวบ้านจึงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข การทำเหมืองฝาย 2. 3 การจับสัตว์น้ำ ในอดีตคนไทยส่วนใหญ่นิยมตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้แหล่งน้ำ จึงมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือสำหรับจับสัตว์น้ำ โดยใช้วัสดุจากธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เช่น ลอบ สวิง โพงพาง ไซ แห เป็นต้น ลอบยืน ทำมาจากไม้ไผ่ถักด้วยเชือกเพื่อใช้จับปลา 2. 2 การแปรรูปอาหาร คนไทยในภาคต่างๆ จะรู้จักวิธีการแปรรูปอาหารในรูปแบบต่างๆ เช่น การหมักและการดอง เพื่อเก็บอาหารไว้รับประทานได้นานๆ เช่น ชุมชนที่อยู่ริมทะเล คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพประมง เมื่อจับปลามาได้มากจึงนำไปแปรรูปตากแห้ง เช่น ปลาเค็ม หมึกแห้ง กุ้งแห้ง คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนำปลาที่จับได้มาหมักในไห เรียกว่า ปลาร้า การแปรรูปปลาสดเป็นปลาตากแห้ง เพื่อให้เก็บไว้ได้นาน 2.

9.4 ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย - การเป็นผู้ประกอบการ

  • Ace คือ ยา อะไร pantip
  • แอ พ ภาพ วาด
  • Ig แบ ม แบ ม บูรพา
  • University of Hertfordshire ข้อมูลการศึกษาต่อและคอร์สเรียน
  • Msi vortex ราคา
  • ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคกลาง – Site Title
  • 10 สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจที่สุดใกล้ ตลาดนัดเลียบด่วน รามอินทรา - Tripadvisor
  • เฟรม cervelo s3 ราคา review

ภูมิปัญญาท้องถิ่น: ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคเหนือ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคกลาง – Site Title

ภูมิปัญญาไทย ในท้องถิ่น

ภูมิปัญญาไทย ในท้องถิ่น

กลัวการแก่งแย่งการทำมาหากิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ที่จะต้องทำผลผลิตเพื่อค้าขาย 2. กลัวเรื่องชื่อเสียง เกียรติภูมิ และกลัวคนอื่นขโมยภูมิปัญญา ถ้าถ่ายทอดความรู้ให้กับคนอื่นแล้วเขาทำดีกว่า เจ้าตำรับก็จะไม่มีชื่อเสียง 3. มีความเชื่อและถือสัจจะจากปู่ ย่า ตา ทวด ที่ต้องการปกปิดเคล้ดลับหรือกลวิธีการผลิต 4. สื่อและเทคโนโลยียังไมท่พัฒนาเท่าที่ควร ปัจจุบันนี้ กลุ่มเป้าหมายของการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นขยายไปสู่สาธารณชนทั่วไปบ้างแล้ว อาจเนื่องจากสาเหตุต่างๆต่อไปนี้ 1. ได้รับการกระตุ้นและการสร้างความตระหนักจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่น หน่วยงาน พัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานเกษตร ฯลฯ 2. การถ่ายทอดความรู้ได้รับค่าตอบแทน ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางคนจะตั้งราคาวิชาไว้มากน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาด สำหรับวิชา อาชีพนั้นๆ 3. สื่อต่างๆในปัจจุบันมีมากมายหลายประเภท ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดความรู้โดยใช้สื่อต่างๆได้อย่างสะดวก หน่วยงานต่างๆที่ให้ การ สนับสนุนภูมิปัญญาก็สามารถถ่ายทอด สืบทอดความรู้ได้อย่างกว้างขวาง 4.

ภูมิปัญญาท้องถิ่น – ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ( Wisdom) คือ ความรู้ความชำนาญวิธีการหรือเทคโนโลยีที่มีการสืบทอดต่อกันมาจากอดีตสู่ปัจจุบัน รวมทั้งงานสร้างสรรค์ของกลุ่มคนในชุมชนบนพื้นฐานวัฒนธรรม และสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อประโยชน์ของกลุ่ม โดยสะท้อนความคิดและความคาดหวังของชุมชนนั้น ด้วยเป็นการแสดงออกซึ่งเอกลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม มาตรฐานและคุณค่าของชุมชน อาจใช้ภาษาหรือไม่ใช้ภาษา หรือผสมผสานระหว่างใช้ภาษาและไม่ใช้ภาษาเป็นสื่อ เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลในท้องถิ่น รวมถึงงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีอยู่ในทุกภาคของประเทศ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ภูมิปัญญาประเภทองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น เช่น การผลิตอาหารและเครื่องดื่ม การผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ และการผลิตผลิตภัณฑ์จากไม้ หิน โลหะ แก้ว เซรามิก ดินเผา เครื่องหนัง เป็นต้น 2.

ปวงชนในสังคมนั้น ๆ และปวงชนในสังคมยอมรับรู้ เชื่อถือ เข้าใจ

  1. 123 go ภาค ไทย download